แบบฝึกหัด บทที่ 7 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
1. DSS คืออะไร
ตอบ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเป็นระบบที่มีการนำมาใช้งานนานแล้วโดยเริ่มแรกจะใช้ลักษณะเป็นเครื่องมือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจของระบบจัดการทั่วไป
ที่เรียกว่า ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ซึ่งเป็นระบบที่จัดหาสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ให้แก่ผู้ยริหารระดับต้นในการบริหารดำเนินงานในแต่ละวัน
และให้เป็นประโยชน์แก่ผู้บริหารระดับกลางในการควบคุมการดำเนินการต่างๆให้เป็นไปตามมาตรฐานหรืองบประมาณที่ได้กำหนดไว้
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจถือได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการแบบใหม่ที่ช่วยผู้บริหารระดับสูงในการตัดสินใจแก้ปัญหาแบบมีโครงสร้างและแบบกึ่งโครงสร้าง
จึงมีบทบาทเสมือนเป็นเครื่องมือที่ทำให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้ถูกต้องมากขึ้น
2. DSS มีกี่ประเภทอะไรบ้าง จงอธิบายแต่ละประเภท
ตอบ
1. การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (Structure Decision ) การตัดสินใจลักษณะนี้จะเป็นการตัดสินใจที่มีกฎเกณฑ์ตายตัว
เช่นการคิดค่าปรับในการลงทะเบียนล่าช้า การคิดภาษามูลค่าเพิ่มสินค้าชนิดที่ต้องมี
VAT กรณีการตัดสินใจลักษณะนี้
2. การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi Structure ) การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้างเป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรจำนอนมาก
ด้วยเหตุผลนี้ผู้บริหารระดับสูงซึ่งทำการตัดสินใจจึงต้องมีทักษะเป็นอย่างดีเมื่อประสบปัญหาสามารถมองหาลู่ทางและตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว
โดยอาศัยประสบการณ์ วิจารณญาณ ไหวพริบ ปฏิญาณ และความชำนานในการแก้ปัญหา
ตัวอย่างการตัดสินใจประเภทนี้
3. การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง (Non Structure Decision)
ลักษณะการตัดสินใจประเภทนี้จะใช้สำหรับผู้บริหารระดับสูงในระดับกลยุทธ์(Selecting Strategies )
3. DSS กับ MIS แตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ
- ระบบ DSS เป็นระบบที่ทำการสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ
ของผู้บริหารในการตัดสินใจ โดยการนำการประมวลผลในระบบ MIS มาประกอบการนำ สารสนเทศจากภายนอกมาประกอบในการสร้างเครื่องมือ
- ระบบ MIS เป็นระบบที่มีการนำผลการประมวลผลในระดับของระบบ DP ของแต่ละงานในหน่วยงานที่ประมวลผล
มาแล้วทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลของงานแต่ละงานที่เกี่ยวข้องกันหรือมีความสัมพันธ์กันของข้อมูลของงานแต่ละงาน
ความแตกต่างระหว่างระบบสารสนเทศ DSS กับ MIS
ความแตกต่างระหว่าง DSS กับ MIS คือ
เน้นการตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (แนวทาง – ตรรกที่แน่นอน)
และใช้ข้อมูลภายในจากระบบDss เป็นหลัก
จุดมุ่งหมายเพื่อบริหารจัดการ (Supervise) งานของหน่วยปฏิบัติการ
ให้บรรลุเป้าหมาย ตามแผนงานที่กำหนดมาโดยผู้บริหารระดับกลาง ภายใต้งบประมาณ
เวลาและข้อจำกัดอื่นๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น